ขสมก. จำกัดจำนวนผู้ใช้บริการไม่เกินร้อยละ 50 ของความจุตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต เริ่ม 21 ก.ค. นี้
ขสมก.
ชาวบ้านหวั่นไม่ปลอดภัยในชีวิต จี้ “ศักดิ์สยาม” ตรวจสอบเข้ม หลังรถร่วม บขส. และรถเมล์ ขสมก.เกิดเพลิงไหม้ซ้ำรอย กังขาถังก๊าซหมดอายุหรือระบบเกิดการรั่วไหล เปรียบแรงเป็น “รถติดถังระเบิด” ให้ผู้โดยสารต้องลุ้นระทึกอยู่ทั่วเมือง
ขสมก.เปิดเส้นทางเดินรถโดยสารปรับอากาศ สาย 132 พระโขนง (สถานีรถไฟฟ้าอ่อนนุช) – การเคหะแห่งชาติโครงการวาระที่ 2 (บางพลี)
ภาพรถโดยสารประจำทางที่เห็นอยู่บนท้องถนนในทุกวันนี้ คงปฏิเสธไม่ได้ว่ารถเมล์ ขสมก.ก่อมลพิษมากที่สุด การให้บริการย่ำแย่ ขาดทุนย่อยยับ รัฐบาลต้องแบกรับหนี้สินมหาศาลเป็นปัญหาเรื้อรังผ่านมาหลายยุคหลายสมัย ไม่มีรัฐบาลไหนแก้ปัญหาอย่างจริงจัง
แม้มหากาพย์เมล์NGV 489 คันจะถูกปิดฉากลงด้วยน้ำมือกลุ่ม SCN-CHO หรือบมจ. สแกน อินเตอร์ (SCN) และ บมจ.ช ทวี (CHO)ที่ชนะการประมูลในวงเงินกว่า 4 พันล้านลาท และได้มีการส่งมอบล็อตแรกให้กับขสมก.100 คัน
ขสมก.เผยผู้โดยสารเพิ่มวันลาะ 3 หมื่นต่อวันหลังคลายล็อกเฟส 3 พร้อมปรับเวลาให้บริการตีสี่ถึงทุ่มวอนผู้ใช้บริการปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) อย่างเคร่งครัด
ไม่รู้ว่าจะเข็นขึ้นสู่แผนฟื้นฟูกันกี่รอบก็ยังย่ำอยู่กับที่เหมือนเดิมสำหรับองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ(ขสมก.) รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ที่ไม่เคยสะกดคำว่า “กำรี้กำไร”เหมือนรัฐวิสาหกิจอื่นๆ
สหภาพแรงงาน ขสมก. ร่อนหนังสือถึงประธานบอร์ด ขอให้วิ่งรถเมล์ฟรีช่วงโควิด-19 ชี้ลดความเสี่ยงผู้โดยสาร-พนักงานเก็บค่าโดยสาร 5,700 คน ที่ต้องสัมผัสกันระหว่างเก็บค่าโดยสารทั้งจ่ายเงินสดและบัตรอิเล็กทรอนิกส์
ทวนเข็มนาฬิกากลับไปเมื่อปี 2451 (ปลายรัชกาลที่ 5) หรือ 112 ปีที่แล้ว เป็นปีที่นายเลิศได้เริ่มเปิดบริการเดิน“รถเมล์”สาธารณะเป็นครั้งแรก ด้วยคอนเซ็ปต์จากมันสมองของเขาเองที่ต้องการสร้างประทับใจให้กับผู้คนทั่วพระนครในเวลานั้น
หลังถูก รศ.ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ นักวิชาการดัง ตีแสกหน้าขสมก.ชนิดหมอไม่รับเย็บปมดราม่า “ติดตั้งเครื่องกรองอากาศ”บนหลังคารถเมล์ขสมก.ว่า”เป็นเรื่องลวงโลกเช่นเดียวกับเครื่อง GT 200 แหละ ...หวังว่านี่ก็ปี 2020 แล้ว