การพัฒนาสาธารณูปโภคที่สำคัญของประเทศกำลังจะก้าวเข้าสู่ยุคใหม่ที่การเดินทางจะเชื่อมต่อทุกภูมิภาคอย่างไร้รอยต่อ เมื่อการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) ภายใต้การนำของนายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการ กทพ. ประกาศแผนพัฒนาโครงข่ายทางพิเศษ 11 โครงการในช่วง 10 ปีข้างหน้า ครอบคลุมกรุงเทพฯ ปริมณฑล และจังหวัดภูมิภาค ซึ่งทั้งหมดคาดว่าจะเริ่มก่อสร้างภายในปี 2571 และทยอยเปิดให้บริการจนถึงปี 2576
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.)
“สุริยะ” จัดแผนลดค่าทางด่วนไม่เกิน 50 บาท มั่นใจประชาชนได้ใช้ปีนี้ พร้อมดันโครงการ Double Deck คาด 4 ปีการก่อสร้างแล้วเสร็จ มั่นใจทุกขั้นตอนโปร่งใส-เป็นธรรมกับทุกฝ่าย
“สุริยะ” สั่งแก้ค่าทางด่วนแพง จี้ กทพ. เร่งหารือเอกชน ลดค่าทางด่วนขั้นที่ 2 สายงามวงศ์วาน - พระราม 9 เหลือ 50 บาทตลอดสาย หวังลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางให้กับประชาชน คาดได้ข้อสรุปภายใน 2 เดือน พร้อมตั้งเป้าเสนอเข้า ครม. ส.ค.นี้ จ่อเพิ่มช่องเก็บเงิน Easy Pass แบบไม่มีกั้น แก้ปัญหารถติดหน้าด่านเก็บเงิน
- ฟ้องท่านเปา
ทางหลวง – การทางพิเศษ รุกแก้ปัญหาการก่อสร้างถนนพระราม 2 มั่นใจทุกโครงการแล้วเสร็จทุกอย่างปี 68
ทล. - กทพ. รุกแก้ปัญหาโครงการก่อสร้างบริเวณถนนพระราม 2 มั่นใจทุกโครงการแล้วเสร็จพร้อมเริ่มดำเนินการได้ปี 68 ฟากนายกเทศมนตรีเมืองหัวหิน ปัดกระแสท่องเที่ยวหัวหินซบ ลั่นขณะนี้นักท่องเที่ยวเพียบ - อัตราเข้าพัก รร. พุ่ง
กทพ.ย้ำถึงความจำเป็นต้องปรับอัตราค่าผ่านทางพิเศษฉลองรัช และทางพิเศษบูรพาวิถีตามเงื่อนไขสัญญากองทุน TFFIF เริ่ม 1 มี.ค.นี้เป็นต้นไปหลังจากเดิมที่จะปรับขึ้นค่าผ่านทางมาตั้งแต่ 1 ก.ย.ปีที่แล้ว ชี้ทางพิเศษฉลองรัช
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) กระทรวงคมนาคม ชะลอปรับขึ้นค่าผ่านทางพิเศษ 2 สายทาง คือ ทางพิเศษฉลองรัช และทางพิเศษบูรพาวิถี ออกไปอีก 6 เดือน จากกำหนดเดิมที่จะปรับขึ้นในวันที่ 1 กันยายน 2566 เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) กระทรวงคมนาคมได้ว่าจ้าง กิจการร่วมค้า ไอทีดี-วีซีบี (ITD-VCB Joint Venture) ประกอบด้วย บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท วิจิตรภัณฑ์ก่อสร้าง จำกัด เป็นผู้รับจ้างดําเนินการก่อสร้าง โครงการทางพิเศษสายพระราม3 – ดาวคะนอง - วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานครด้านตะวันตกสัญญาที่ 3 แจ้งการปิดเบี่ยงการจราจรชั่วคราวบนทางพิเศษเฉลิมมหานคร ช่วงวัดสารอดถึงด่านฯ ดาวคะนอง ฝั่งขาเข้าและขาออกกรุงเทพฯ เพื่อดำเนินการติดตั้งคานขวางของโครงการฯ ตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2566 ถึง วันที่ 25 ตุลาคม 2567 เวลา 22.00-04.00 น.ดังนี้
การทางพิเศษแห่งประเทศไทย (กทพ.) กระทรวงคมนาคม ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษ รวม 3 สายทาง ดังนี้ ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางด่วนขั้นที่ 1) จำนวน 19 ด่าน ทางพิเศษศรีรัช (ทางด่วนขั้นที่ 2) จำนวน 31 ด่าน และทางพิเศษอุดรรัถยา (บางปะอิน-ปากเกร็ด) จำนวน 10 ด่าน ในวันเสาร์ที่ 12 สิงหาคม 2566
ยกเว้นค่าผ่านทางพิเศษของทางพิเศษ รวม 3 สายทาง ดังนี้ ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางด่วนขั้นที่ 1) จำนวน 19 ด่าน ทางพิเศษศรีรัช (ทางด่วนขั้นที่ 2) จำนวน 31 ด่าน และทางพิเศษอุดรรัถยา (บางปะอิน-ปากเกร็ด) จำนวน 10 ด่าน จำนวน 3 วัน
กทพ. แจ้งปิดเบี่ยงจราจรชั่วคราว ทางพิเศษเฉลิมมหานคร บริเวณทางขึ้นมุ่งหน้าไปดาวคะนอง ขาออกกรุงเทพฯ ครั้งละไม่เกิน 15 นาที