รองนายกฯ-รมว.พาณิชย์ “จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์”ลงพื้นที่ท่าเรือกรุงเทพร่วมหารือภาครัฐ-เอกชนบรรเทาผลกระทบให้กับภาคส่งออกของประเทศ พร้อมคลอด 6 แนวทางแก้ไขปัญหาขาดแคลนตู้สินค้า
การท่าเรือแห่งประเทศไทย
การท่าเรือฯร่วมกับ TDRI ศึกษาผลกระทบการรับตู้ขาเข้าท่าเรือชายฝั่ง ทลฉ. ทั้งต้นทุนขนส่งสินค้ เพื่อวิเคราะห์หาอัตราค่าภาระที่เหมาะสม เป็นธรรม สะท้อนต้นทุนที่แท้จริงในสถานการณ์ปัจจุบัน
การท่าเรือฯแจ้งปรับขึ้นอัตราค่าธรรมเนียมน้ำมันเชื้อเพลิงการให้บริการตู้สินค้า-เรือลากจูง ณ ท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบังมีผลตั้งแต่1 ตุลาคม 2563 เป็นต้นไป ย้ำเป็นการทบทวนอัตราค่าธรรมเนียม
การท่าเรือฯ ได้อันดับ 1 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ประจำปี 2563 ของกระทรวงคมนาคม ด้วยผลประเมิน 91.87 คะแนน
การท่าเรือฯเดินหน้าพัฒนานวัตกรรมกระบวนการทำงานนำระบบ e-Payment ใช้จัดเก็บค่าธรรมเนียมยานพาหนะผ่านท่า ค่าภาระตู้สินค้าขาออก และค่าบริการชั่งน้ำหนักตู้สินค้า
ผลการดำเนินงานให้บริการเรือ สินค้า และตู้สินค้าผ่านท่าเรือกรุงเทพ (ทกท.) ท่าเรือแหลมฉบัง (ทลฉ.) ท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน (ทชส.) ท่าเรือเชียงของ (ทชข.) และท่าเรือระนอง (ทรน.) ในรอบ 9 เดือนของปีงบประมาณ 2563 (
ทท. เตรียมปรับปรุงท่าเทียบเรือเขื่อนตะวันออกท่าเรือกรุงเทพ(ทกท.)รวม 7 ท่า ใช้เวลาดำเนินการ 90 วันต่อหนึ่งท่า พร้อมบริหารจัดการเครื่องมือทุ่นแรงและพื้นที่หลังท่า เพื่อผู้ใช้บริการได้รับความสะดวก คล่องตัว และปลอดภัย
การท่าเรือฯ เตรียมทุ่มงบ 70 ล้าน ปรับปรุงถนนหน้าท่าเทียบเรือผู้ประกอบการฝั่งบี (B) ทลฉ. รองรับขยายตัวขนส่ง-สะดวก-ปลอดภัย-ลดจราจรติดขัด
การท่าเรือฯ ได้กำหนดมาตรการเยียวยา เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้มีส่วนได้เสียของ กทท. และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากไวรัส COVID-19 โดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม
กทท. เร่งเยียวยาผู้เช่าทรัพย์สินคู่สัญญากทท.กว่า 5,000 สัญญา ทั้งลด-เว้น-ยืดชำระค่าเช่าให้กับผู้เช่าอาคาร-ที่อยู่อาศัยนาน 3 เดือนหวังบรรเทาความเดือดร้อน และพยุงเศรษฐกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปได้อย่างต่อเนื่อง